[x] ปิดหน้าต่างนี้
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป   
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
บริการข้อมูลสารสนเทศ
รายงานประจำปี

ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 56 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
สื่อการสอนครู


     

@ นำเสนอผลการเรียนรู้จากการใช้นวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ประจำปี ๒๕๖๓       

@ การพัฒนารูปแบบการบริหาร ร่วมคิด พาทำ        

@ สื่อการสอน ครูภาวิณี        

@ สื่อการสอน ครูกาญจนา        
 
 
ผลงานนักเรียน





  

  หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์
เรื่อง : ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation) ในอาหารคืออะไร
blog name : sumirethai
ระดับ : [ มือใหม่ ]
เข้าชม : 354
ศุกร์ ที่ 6 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2566
A- A A+
        

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ในอาหาร

เกิดจากการที่มีออกซิเจนอยู่ในถุงบรรจุภัณฑ์เป็นปริมาณที่มาก จะสามารถแก้ปัญหาเหล่านี้ด้วยการใช้ก๊าซไนโตรเจนเพื่อไล่ออกซิเจนที่อยู่ค้างในบรรจุภัณฑ์อาหารออกไป ซึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันกับอาหารที่มีส่วนประกอบของน้ำมันและไขมัน จะทำให้อาหารเกิดกลิ่นเหม็นหืน กลิ่นของรสชาติจะมีการเปลี่ยนแปลง และประโยชน์ของอาหารอาจลดลงได้

การป้องกัน

• เก็บอาหารในบรรจุภัณฑ์ให้เรียบร้อย ไม่อยู่ในที่ที่อุณหภูมิสูงหรือต่ำจนเกินไป
• ไม่วางอาหาร หรือบรรจุภัณฑ์ ไว้ใกล้เตาหรือที่มีอุณหภูมิสูง
• ไม่ควรเก็บหรือวางอาหารที่จะบรรจุภัณฑ์ไว้ข้างนอกนานจนเกินไป เพราะจะทำให้ออกซิเจนโดนอาหารเป็นจำนวนมาก
• เลือกใช้บรรจุภัณฑ์สินค้ามีความมิดชิดทึบ ไม่ให้โดนแสงหรือแสงแดด และไม่ให้อากาศเข้าไปในบรรจุภัณฑ์ได้
• เลือกบรรจุภัณฑ์หรือถุงซีลสุญญากาศให้มีขนาดพอดีกับสินค้า เพื่อลดพื้นที่ของอากาศกรณีไม่ได้อัดก๊าซไนโตรเจน
• ใส่ถุงบรรจุภัณฑ์หรือถุงซีลสุญญากาศเพื่อช่วยรักษาคุณภาพของอาหาร ไม่ให้มีการเกิดกลิ่นเหม็นหืน
• อาหารประเภททอดหรืออาหารที่มีความกรอบ ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้นานจนเกินไป ควรบริโภคตามระยะเวลาที่กำหนด เพราะจะทำให้เกิดกลิ่นได้

การถนอมอาหารด้วยเครื่องซีลสุญญากาศ

• ช่วยเก็บรักษาสิ่งของสามารถคงความสดไว้ได้
เมื่อสูญญากาศแล้วสิ่งของภายในถุงจะไม่โดนอากาศทำให้คงความสดไว้ได้ แต่แนะนำหากเป็นอาหารควรแช่เย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิด้วย เพราะอาหารมีกรดและแก๊สที่เกิดขึ้นได้หากเจอกับความร้อนของอากาศภายนอก
• ยืดอายุอาหารได้ถึง 3 เท่า
เมื่อสุญญากาศแล้ว นำไปแช่เย็นควบคุมอุณหภูมิอาหารจะอยู่ได้นานขึ้นกว่าเดิม เพราะเมื่อไม่โดนอากาศที่จะเป็นตัวทำให้เกิดปฏิกิริยากับอาหาร จะให้อาหารไม่เน่าเสียได้ง่าย
• ป้องกันอากาศเข้าออก ทำให้อาหารเน่าเสีย
เมื่อสุญญากาศแล้ว ทำให้ไม่โดนอากาศ ลดปฏิกิริยาของอากาศที่จะทำกับอาหาร และ การโดนความร้อนภายนอกโดยตรง ทำให้อาหารไม่เน่าเสียได้ง่าย
• เพิ่มมูลค่าสินค้า ต่อยอดธุรกิจ
เมื่อสุญญากาศแล้ว จะทำให้สินค้าคงสี และ รสชาติเดิมไว้ได้เหมือนทำสดใหม่ สินค้ามีลักษณะสวยงาม ดึงดูดใจลูกค้า และลูกค้าสามารถมั่นใจได้ว่าปลอดภัยแน่นอน
• ช่วยให้ส่งสินค้า หรือ อาหาร ไปต่างประเทศได้
เมื่อสุญญากาศแล้ว ถุงก็จะไม่แตกง่าย ทนต่อการกดทับได้มากขึ้น และยืดอาหารอาหารออกไป เวลาส่งต่างประเทศอาหารก็จะไม่เน่าเสียอีกด้วย
• เก็บกลิ่นไม่พึงประสงค์ของอาหารรบกวนในตู้เย็น
ปัญหากลิ่นอาหารกวนใจของหลายๆบ้านจะหมดไป ไม่ต้องแยกตู้เย็นเพียงสุญญากาศก็สามารถช่วยลดกลิ่นอาหารได้
• ลดการเกิดสนิมสำหรับอะไหล่ต่างๆ
อะไหล่บางชิ้นส่วนต้องการป้องกันอากาศเพื่อไม่ให้เกิดสนิมจึงควรต้องใช้เครื่องสุญญากาศนำเอาอากาศออกให้หมด เพื่อลดปัญหาสนิมที่อาจจะเกิดได้จากอะไหล่นั่นเอง
• ช่วยลดการทิ้งขยะเศษอาหาร ลดโลกร้อน
ปัญหาระดับโลกอย่างอาหารขยะล้นโลก ส่งกลิ่นเหม็นจะลดลงหากเราช่วยกันสุญญากาศและยืดอายุอาหารออกมา นำกลับมาทานใหม่ได้ ลดจำนวนการทิ้ง ลดโลกร้อน

บทส่งท้าย
จบกันไปแล้วกับความรู้เรื่องปฏิกิริยาออกซิเดชัน ที่อาจะทำให้อาหารของคุณมีคุณค่าทางประโยชน์ลดลงและอาหารอาจมีกลิ่นหืนได้ หากคุณลูกค้าท่านใดที่กำลังคิดที่จะเริ่มธุรกิจอาหารแต่กลัวปัญหาเหล่านี้ หวังว่าบทความนี้จะช่วยในการตัดสินใจในการเลือกเครื่องซีลสุญญากาศได้ง่ายขึ้น ติดตามบทความดีๆหรือเลือกดูเครื่องซีลสุญญากาศได้ที่ https://sumirethailand.com/




[ ดาวน์โหลดแฟ้มประกอบ ]
  
Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.
รายละเอียดผู้เขียนบทความ blog
blog name :
เจ้าของ blog :
อาชีพ :
สถานที่ทำงาน :
จำนวนบทความใน blog :
ระดับของ blog :
sumirethai
Sumire Thailand
1/4/2530
The Place (ห้อง 1104) เลขที่ 9 ซอยจันทน์ 18/2 แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120
1 เรื่อง
[ มือใหม่ ]

วิทยาศาสตร์ 5 อันดับล่าสุด

      ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation) ในอาหารคืออะไร 6/ต.ค./2566
      สัญญาณ Wi-Fi 2.4GHz และ 5GHz ต่างกันอย่างไร 9/ก.พ./2563
      อินพุต / เอาต์พุตพื้นฐานใน Arduino [2/2] 11/ธ.ค./2561
      อินพุต / เอาต์พุตพื้นฐานใน Arduino [1/2] 11/ธ.ค./2561
      รู้จักวิชาบังคับ วิทยาการคำนวณ สอนเขียนโปรแกรมทุกโรงเรียนตั้งแต่ป. 1 - ม.6 11/ธ.ค./2561